Tuesday, September 6, 2016

โมเมนต์ของแรง

โมเมนต์ของแรง
ในทางฟิสิกส์ คำว่า โมเมนต์ (อังกฤษmoment) อาจหมายถึงหลายแนวคิดที่แตกต่างกันดังนี้
  • โมเมนต์ของแรง (moment of force) หรือเรียกเพียง โมเมนต์ คือแนวโน้มของแรงที่ทำให้วัตถุหนึ่งบิดหรือหมุนไป เป็นแนวคิดพื้นฐานสำคัญในวิศวกรรมศาสตร์และฟิสิกส์ (กลศาสตร์และวิศวกรรมโยธา ให้ความหมายคำว่า "โมเมนต์" กับ "แรงบิด/ทอร์ก" ต่างกัน ในขณะที่ฟิสิกส์ถือว่าเหมือนกัน)
    • แขนโมเมนต์ (moment arm) คือปริมาณชนิดหนึ่งที่ใช้คำนวณโมเมนต์ของแรง ดูที่บทความ แรงบิด (torque)
    • หลักการของโมเมนต์ (the principle of moment) คือทฤษฎีบทเกี่ยวกับโมเมนต์ของแรง ดูที่บทความ แรงบิด
    • โมเมนต์แท้ (pure moment) คือโมเมนต์ของแรงชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ดูที่บทความ แรงคู่ควบ (couple) อ่านเพิ่มเติม

การบวกเวกเตอร์

1.1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป ทำได้โดยเขียนเวกเตอร์ที่เป็นตัวตั้ง จากนั้นเอาหางของเวกเตอร์ที่เป็นผลบวกหรือผลต่าง มาต่อกับหัวของเวกเตอร์ตัวตั้ง โดยเขียนให้ถูกต้องทั้งขนาดและทิศทาง เวกเตอร์ลัพธ์หาได้โดยการวัดระยะทาง จากหางเวกเตอร์แรกไปยังหัวเวกเตอร์สุดท้าย อ่านเพิ่มเติม

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 (พ.ศ.2185) นิวตันสนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสงแทนการใช้เลนส์ในกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก  สิ่งนี้เองนำเขาไปสู่การค้นพบกฎแรงโน้ อ่านเพิ่มเติม

อัตราเร่ง

         กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อัตราเร็วที่ไม่สม่ำเสมอ หรือความเร็วไม่สม่ำเสมอ วัตถุมีค่าความเร่งความหมายของอัตราเร่งหรือความเร่ง
คือ อัตราเร็วหรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลาที่วัตถุมีการเคลื่อนที่
         การคำนวณหาค่าอัตราเร่ง ทำได้โดยหาอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปโดยใช้อัตราเร็วสุดท้ายของการเคลื่อนที่ลบด้วยอัตราเร็วเริ่มต้นของการเคลื่อนที่ หารด้วยเวลาที่ใช้เปลี่ยนค่าอัตรอ่านเพิ่มเติม

อัตราเร็ว

          อัตราเร็วและความเร็วเป็นปริมาณที่แสดงให้ทราบลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุถ้าในทุกๆหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยขนาดของอัตราเร็ว หรือ ความเร็วเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่ เรียกว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอหรืออัตราเร็วคงที่ถ้าพิจราณาแล้วพบว่าในแต่ละหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกต่างกัน กล่าวว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง หรือ ความเร่งในกรณีนี้การหาค่าอัตราเร็วหรื อ่านเพิ่มเติม

แรงเสียดทาน


                     แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทำ มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ
2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคอ่านต่อ

การหาแรงดันระหว่างมวล


ความหมายของแรงดัน
        ความดัน หมายถึง แรง (force; F) ต่อ หน่วยพื้นที่ (area; A)ใน SI unit ความดันมีหน่วย เป็น ปาสคาล (Pa) หรือ นิวตันต่อตารางเมตร หรือ กิโลกรัมต่อเมตรต่อวินาทีกำลังสอง ส่วนคอ่านต่อ

การหาแรงตึงเชือก


หลักการหาแรงตึงเชือก

1. เชือกเส้นเดียวกันแรงตีงเชือกย่อมเท่ากัน
2. แรงตึงเชีอกมีทิศพุ่งออกจากจุดที่เราพิจารณา
3. รอกลื่นทำให้เชือกเปลี่ยนทิศทอ่านต่อ

ฟิสิกส์ คืออะไร


                           ฟิสิกส์ (Physics) เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทำได้โดยการสังเกต การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ อ่านต่อ

ปริมาณในทางฟิสิกส์

ปริมาณทางฟิสิกส์ปริมาณ (Quantity) วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษาส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยายเชิงข้อมูลพรรณนา ตามสภาพการรับรู้ของมนุษย์ เช่น การบรรยายรูปลักษณะ สี กลิ่น รส และเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาข้อมูลเชิงตัวเลข ซึ่งได้จากการสังเกต และเครื่องมือวัด เช่น ...อ่านต่อ

แรงโน้มถ่วง

แรงโน้มถ่วง

  การหล่นของผลแอปเปิ้ลทำให้เกิดคำถามอยู่ในใจของนิวตัน ว่าแรงของโลกที่ทำให้ผลแอปเปิ้ลหล่นน่าจะเป็นแรงเดียวกันกับแรงที่  "ดึง" ดวงจันทร์เอาไว้ไม่ไปที่อื่นและทำให้เกิดโคจรรอบโลกเป็นวงรี ผลการคำนวณเป็นสิ่งยืนยัน...อ่านต่อ

12 การรวมค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน

         เมื่อครู่เราได้แปลงค่ากันมาแล้วตอนนี้ก็ต้องเป็นการรวมเข้าด้วยกัน การรวมกันนี้ต้องใช้วิธีทางสถิติเรียกว่า root sum of the squares ผลของการรวมเรียกว่า combined uncertainty
1 การบวกกัน หรือหักลบกัน ซึ่งเป็นกรณีแบบง่ายๆ ที่เป็นการรวมกันหรือลบออกจากกันของผลการวัด 1 มิติ...อ่านต่อ

ค่าความไม่เเน่นอน

ก่อนเริ่มการคำนวณจะต้องมีความเข้าใจว่าค่าความไม่แน่นอนของแต่ละ input นั้นจะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน และมีระดับของความเชื่อมั่นเดียวกันถึง
จะสามารถรวมกันเข้าไปได้ สิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจไว้ก่อนประกอบด้วย

1 ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard Uncertainty)

ขนาดของความไม่แน่นอนมาตรฐานจะมีค่าเท่ากับบวก หรือ ลบ 1 ซิกม่า (1 ความเบ..อ่านต่อ